* กรอบเป็นข้าวเกรียบ
* กรีดกรายเป็นนางพญา
* กรีดกรายเป็นนางหงส์
* กลมเกลี้ยงราวกับกลึง
* กลมเป็นลูกมะนาว ลูกบิลเลียด
* กลับกลอกเป็นกระบอกจังหัน
* กลิ้งเป็นลูกขนุน
* กลิ้งเป็นลูกมะนาว
* กลิ้งเหมือนน้ำบนใบบอน
* กองเป็นภูเขาเลากา
* กอดมือนั่งเหมือนลิงจอ
* กินเหมือนหมู, กินอย่างหมู
* กินเผื่อหมา
* กินเป็นพายุบุแคม
* เกลี้ยงเหมือนล้างน้ำ
* เกลี้ยงเหมือนหัวล้าน
* แก้มเป็นสีกุหลาบ
* แก้มแดงเหมือนลูกท้อ
* เกลื่อนเป็นเทกระจาด
----------------------------------
แหล่งอ้างอิง : สำนวนโวหารไทยและคำเปรียบเทียบ
โดย : แมงก่ำเบ้อ
กรุณาอย่า copy เพื่อนำไปเป็นการค้า
จำนวนการดูหน้าเว็บรวม
วันพุธที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2554
อุปมาอุปมัย หมวด ฉ - ซ
หมวด ฉ
* เฉาเหมือนถูกน้ำร้อนลวก
-----------------------------------------------------------------------
หมวด ช
* ชีดเป็นน้ำยาเย็น
* ใช้เงินเป็นเบี้ย
* ชักจนตาตั้ง
* ช้าเป็นเต่า
----------------------------------------------------------------------
หมวด ซ
* ซักเหมือนตุลาการ
* ซักเป็นศาลที่สอง
* ซึมกระทือเหมือนคนอดนอน
* ซูบซีดเหมือนคนรื้อไข้
------------------------------
แหล่งอ้างอิง : สำนวนโวหารไทยและคำเปรียบเทียบ
โดย : แมงก่ำเบ้อ
กรุณาอย่า copy เพื่อนำไปเป็นการค้า
อุปมาอุปมัย หมวด จ
* จมูกไวเหมือนมด
* จ้องเขม็งราวกับจะกินเลือดกินเนื้อ
* จ้องราวกับแมวตะครุบเหยื่อ
* จืดชืดเป็นน้ำยาเย็น
* แจวอ้าวเป็นเรือยนต์
* ใจดีเป็นพระ
* ในดีเป็นพระเวสสันดร
* ใจกว้างอย่างมหาสมุทร
* ใจเสาะเป็นปลาสิว
* ใจเสาะเป็นเจ๊ก
-----------------------------
แหล่งอ้างอิง : สำนวนโวหารไทยและคำเปรียบเทียบ
โดย : แมงก่ำเบ้อ
กรุณาอย่า copy เพื่อนำไปเป็นการค้า
* จ้องเขม็งราวกับจะกินเลือดกินเนื้อ
* จ้องราวกับแมวตะครุบเหยื่อ
* จืดชืดเป็นน้ำยาเย็น
* แจวอ้าวเป็นเรือยนต์
* ใจดีเป็นพระ
* ในดีเป็นพระเวสสันดร
* ใจกว้างอย่างมหาสมุทร
* ใจเสาะเป็นปลาสิว
* ใจเสาะเป็นเจ๊ก
-----------------------------
แหล่งอ้างอิง : สำนวนโวหารไทยและคำเปรียบเทียบ
โดย : แมงก่ำเบ้อ
กรุณาอย่า copy เพื่อนำไปเป็นการค้า
อุปมาอุปมัย หมวด ง
* งงเหมือนไก่ไก่ตาแตก, งงเป็นไก่ตาแตก
* งุ่มง่ามเป็นคนแก่
* ง่ายเหมือนเป่าสาก, เงียบเป็นเป่าสาก
* เงียบเป็นป่าช้า
------------------------------------
แหล่งอ้างอิง : สำนวนโวหารไทยและคำเปรียบเทียบ
โดย : แมงก่ำเบ้อ
กรุณาอย่า copy เพื่อนำไปเป็นการค้า
* งุ่มง่ามเป็นคนแก่
* ง่ายเหมือนเป่าสาก, เงียบเป็นเป่าสาก
* เงียบเป็นป่าช้า
------------------------------------
แหล่งอ้างอิง : สำนวนโวหารไทยและคำเปรียบเทียบ
โดย : แมงก่ำเบ้อ
กรุณาอย่า copy เพื่อนำไปเป็นการค้า
อุปมาอุปมัย หมวด ค
* คมเป็นมีดโกน
* คดเหมือนมีเคียวอยู่ในท้อง
* คลานเหมือนเต่า
* คะนองเหมือนม้า
* คิ้วโก่งดังวงเดือน
* คิ้วโก่งเหมือนคันศร
* คิ้วโก่งเหมือนวาด
* แคบเป็นรูหนู
* แค่มือเอื้อม
----------------------------
แหล่งอ้างอิง : สำนวนโวหารไทยและคำเปรียบเทียบ
โดย : แมงก่ำเบ้อ
กรุณาอย่า copy เพื่อนำไปเป็นการค้า
* คดเหมือนมีเคียวอยู่ในท้อง
* คลานเหมือนเต่า
* คะนองเหมือนม้า
* คิ้วโก่งดังวงเดือน
* คิ้วโก่งเหมือนคันศร
* คิ้วโก่งเหมือนวาด
* แคบเป็นรูหนู
* แค่มือเอื้อม
----------------------------
แหล่งอ้างอิง : สำนวนโวหารไทยและคำเปรียบเทียบ
โดย : แมงก่ำเบ้อ
กรุณาอย่า copy เพื่อนำไปเป็นการค้า
อุปมาอุปมัย หมวด ข
* ขดเป็นวงเป็นกง
* ขดเป็นเกลียว
* ขมเหมือนบอระเพ็ด
* ขมเหมือนยาขม
* ขายาวเหมือนนกกระยาง
* ขาลีบเหมือนตะเกียบ
* ขาวเหมือนแป้ง
* ขาวเหมือนหยวก
* ขาวเหมือนไข่ปอก
* ขาวเหมือนสำลี
* ขี้ตืดเป็นตังเม
* ขี้เหนียวเหมือนตังเม
* ขี้แยเหมือนเด็ก
* ขี้หลงขี้ลืมเหมือนตาแก่, เหมือนคนแก่
* ขุ่นเป็นตม
* ขุ่นเป็นตะกอน
* เขียวเหมือนมรกต
---------------------------------
แหล่งอ้างอิง : สำนวนโวหารไทยและคำเปรียบเทียบ
โดย : แมงก่ำเบ้อ
กรุณาอย่า copy เพื่อนำไปเป็นการค้า
* ขดเป็นเกลียว
* ขมเหมือนบอระเพ็ด
* ขมเหมือนยาขม
* ขายาวเหมือนนกกระยาง
* ขาลีบเหมือนตะเกียบ
* ขาวเหมือนแป้ง
* ขาวเหมือนหยวก
* ขาวเหมือนไข่ปอก
* ขาวเหมือนสำลี
* ขี้ตืดเป็นตังเม
* ขี้เหนียวเหมือนตังเม
* ขี้แยเหมือนเด็ก
* ขี้หลงขี้ลืมเหมือนตาแก่, เหมือนคนแก่
* ขุ่นเป็นตม
* ขุ่นเป็นตะกอน
* เขียวเหมือนมรกต
---------------------------------
แหล่งอ้างอิง : สำนวนโวหารไทยและคำเปรียบเทียบ
โดย : แมงก่ำเบ้อ
กรุณาอย่า copy เพื่อนำไปเป็นการค้า
ประเภทและประโยชน์
ประเภท
แบ่งออกได้ ๒ ประเภท
๑. มีเสียงสัมผัสคล้องจอง เช่น หมูเห็ดเป็ดไก่ ,รักวัวให้ผูก รักลูกให้ตี, ฯลฯ
๒. ไม่มีเสียงสัมผัสคล้องจอง เช่น ย้อมแมวขาย นกน้อยทำรังแต่พอตัว ฯลฯ
ประโยชน์สำนวนโวหาร
๑. ทำให้ใช้ภาษาในการเขียน ความเรียงต่าง ๆ ได้ดีขึ้น ช่วยเพิ่มคุณค่า
และความน่าเชื่อถือของความเรียงที่เราเขียนขึ้น
๒. ทำให้ได้คติสอนใจ ด้านต่าง ๆ ตัวอย่าง เช่น
* ด้านการศึกษาเล่าเรียน เช่น ความรู้ท่วมหัวเอาตัวไม่รอด
* ด้านการครองเรือน เช่น ปลูกเรือนตามใจผู้อยู่ ผูกอู่ตามใจผู้นอน
* ด้านการคบค้าสมาคม เช่น คบคนให้ดูหน้า ซื้อผ้าให้ดูเนื้อ
* ด้านความรัก เช่น ยามรักน้ำต้มผักก็ว่าหวาน
๓. ทำให้ทราบความเป็นอยู่ของคนในสังคม ในสมัยท่เกิดสำนวนโวหารนั้นว่า
มีความหมายอยู่อย่างไร เช่น น้ำพึ่งเรือ เสือพึ่งป่า, หมูไปไก่มา ฯลฯ
๔. เป็นการรักษาวัฒนธรรมทางภาษาอันเป็นมรดกอันล้ำค่าของไทยให้
ลูกหลานได้ภูมิใจกัน
กรุณาอย่า copy เพื่อไปเป็นการค้า
แบ่งออกได้ ๒ ประเภท
๑. มีเสียงสัมผัสคล้องจอง เช่น หมูเห็ดเป็ดไก่ ,รักวัวให้ผูก รักลูกให้ตี, ฯลฯ
๒. ไม่มีเสียงสัมผัสคล้องจอง เช่น ย้อมแมวขาย นกน้อยทำรังแต่พอตัว ฯลฯ
ประโยชน์สำนวนโวหาร
๑. ทำให้ใช้ภาษาในการเขียน ความเรียงต่าง ๆ ได้ดีขึ้น ช่วยเพิ่มคุณค่า
และความน่าเชื่อถือของความเรียงที่เราเขียนขึ้น
๒. ทำให้ได้คติสอนใจ ด้านต่าง ๆ ตัวอย่าง เช่น
* ด้านการศึกษาเล่าเรียน เช่น ความรู้ท่วมหัวเอาตัวไม่รอด
* ด้านการครองเรือน เช่น ปลูกเรือนตามใจผู้อยู่ ผูกอู่ตามใจผู้นอน
* ด้านการคบค้าสมาคม เช่น คบคนให้ดูหน้า ซื้อผ้าให้ดูเนื้อ
* ด้านความรัก เช่น ยามรักน้ำต้มผักก็ว่าหวาน
๓. ทำให้ทราบความเป็นอยู่ของคนในสังคม ในสมัยท่เกิดสำนวนโวหารนั้นว่า
มีความหมายอยู่อย่างไร เช่น น้ำพึ่งเรือ เสือพึ่งป่า, หมูไปไก่มา ฯลฯ
๔. เป็นการรักษาวัฒนธรรมทางภาษาอันเป็นมรดกอันล้ำค่าของไทยให้
ลูกหลานได้ภูมิใจกัน
กรุณาอย่า copy เพื่อไปเป็นการค้า
วันอังคารที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2554
ที่มาของสำนวนไทย
ที่มา
..........สำนวนไทย มีสาเหตุที่เกิดหลายสาเหตุ สรุปสาระสำคัญดังนี้
๑. เกิดจากธรรมชาติ ตัวอย่าง
* ลุกไม้หล่นไม่ไกลต้น
* ฝนตกไม่ทั่วฟ้า
* คลื่นใต้น้ำ
* ข้าวคอยฝน
* น้ำลอดใต้ทราย
* น้ำซึมบ่อทราย
* ใบไม้ร่วงจะออกช่อ ข้าวรัดกอจะออกรวง
๒. เกิดจากสัตว์ ตัวอย่าง
* หมาหยอกไก่
* ไก่แก่แม่ปลาช่อน
* งูกินหาง
* จระเข้ฟาดหาง
* เสือซ่อนเล้บ
* ปลากระดี่ได้น้ำ
* เต่าใหญ่ไข่กลบ
* ไก่แก่หนังเหนียว
๓. เกิดจากของกินของใช้ ตัวอย่าง
*. ผ้าขี้ริ้วห่อทอง
* บ้านช่องห้องหอ
* ข้าวแดงแกงร้อน
๔. เกิดจากการกระทำ ความประพฤติ การปฏิบัติและการกินอยู่ของคน ตัวอย่าง
* หาเช้ากินค่ำ
* ปืดทองหลังพระ
* จับให้มั่น คั้นให้ตาย
* ล้มหมอนนอนเสื่อ
* แล่เนื้อเอาเกลือทา
๕. เกิดจากอวัยวะ ตัวอย่าง
* ตาไม่มีแวว
* ใจลอย
* คอเป็นเอ็น
* มืออยู่ไม่สุข
* ก้างขวางคอ
๖. เกิดจากแบบแผนประเพณี และวัฒนธรรม ตัวอย่าง
* ตื่นก่อนนอนทีหลัง
* ช้างเท้าหลัง
* เข้าตมตรกออกตามประตู
๗. เกิดจากนิยาย นิทาน ตำนาน หรือประวัติศาสตร์ ตัวอย่าง
* ฤาษีแปลงสาร
* กบเลือกนาน
* กระต่ายหมายจันทร์
* ดอกพิกุลจะร่วง
๘. เกิดจากการละเล่น กีฬา หรือการแข่งขัน ตัว อย่าง
* สุดสายป่าน
* รุกฆาต
* ไก่รองบ่อน
* ไม่ดูตาม้าตาเรือ
* ว่าวติดลมบน
๙. เกิดจากศาสนา ตัวอย่าง
* ผ้าเหลืองร้อน
* ขนทรายเข้าวัด
* กรวดน้ำคว่ำขัน
แหล่งข้อมูล : หนังสือสำนวนโวหารไทยและคำเปรียบเทียบ
กรุณาอย่า copy เพื่อไปเป็นการค้า
..........สำนวนไทย มีสาเหตุที่เกิดหลายสาเหตุ สรุปสาระสำคัญดังนี้
๑. เกิดจากธรรมชาติ ตัวอย่าง
* ลุกไม้หล่นไม่ไกลต้น
* ฝนตกไม่ทั่วฟ้า
* คลื่นใต้น้ำ
* ข้าวคอยฝน
* น้ำลอดใต้ทราย
* น้ำซึมบ่อทราย
* ใบไม้ร่วงจะออกช่อ ข้าวรัดกอจะออกรวง
๒. เกิดจากสัตว์ ตัวอย่าง
* หมาหยอกไก่
* ไก่แก่แม่ปลาช่อน
* งูกินหาง
* จระเข้ฟาดหาง
* เสือซ่อนเล้บ
* ปลากระดี่ได้น้ำ
* เต่าใหญ่ไข่กลบ
* ไก่แก่หนังเหนียว
๓. เกิดจากของกินของใช้ ตัวอย่าง
*. ผ้าขี้ริ้วห่อทอง
* บ้านช่องห้องหอ
* ข้าวแดงแกงร้อน
๔. เกิดจากการกระทำ ความประพฤติ การปฏิบัติและการกินอยู่ของคน ตัวอย่าง
* หาเช้ากินค่ำ
* ปืดทองหลังพระ
* จับให้มั่น คั้นให้ตาย
* ล้มหมอนนอนเสื่อ
* แล่เนื้อเอาเกลือทา
๕. เกิดจากอวัยวะ ตัวอย่าง
* ตาไม่มีแวว
* ใจลอย
* คอเป็นเอ็น
* มืออยู่ไม่สุข
* ก้างขวางคอ
๖. เกิดจากแบบแผนประเพณี และวัฒนธรรม ตัวอย่าง
* ตื่นก่อนนอนทีหลัง
* ช้างเท้าหลัง
* เข้าตมตรกออกตามประตู
๗. เกิดจากนิยาย นิทาน ตำนาน หรือประวัติศาสตร์ ตัวอย่าง
* ฤาษีแปลงสาร
* กบเลือกนาน
* กระต่ายหมายจันทร์
* ดอกพิกุลจะร่วง
๘. เกิดจากการละเล่น กีฬา หรือการแข่งขัน ตัว อย่าง
* สุดสายป่าน
* รุกฆาต
* ไก่รองบ่อน
* ไม่ดูตาม้าตาเรือ
* ว่าวติดลมบน
๙. เกิดจากศาสนา ตัวอย่าง
* ผ้าเหลืองร้อน
* ขนทรายเข้าวัด
* กรวดน้ำคว่ำขัน
แหล่งข้อมูล : หนังสือสำนวนโวหารไทยและคำเปรียบเทียบ
ผู้แต่ง : ผศ.ดร.เรืองอุไร อินทรประเสริฐ - เอนก อัครบัณฑิต
จัดทำโดย : แมงก่ำเบ้อ (นามแฝง)
(ขออนุญาตนำผลงานเผยแพร่และขอบพระคุณท่านอาจารย์ มา ณ ที่นี้ด้วย)
--------------------------------------------------------------
กรุณาอย่า copy เพื่อไปเป็นการค้า
ความหมาย
ความหมาย
..........ตามพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 ได้กำหนดความหมายไว้ดังนี้
สำนวน
..........หมายถึงถ้อยคำที่เรียบเรียง ถ้อยคำที่ไม่ถูกไวยากรณ์ แต่รับใช้
เป็นภาษาที่ถูกต้อง การแสดงถ้อยคำออกมเป็นข้อความพิเศษเฉพาะ
ภาษาหนึ่ง ๆ หรือหนังสือแบบหนึ่ง ๆ
คำคม
..........หมายถึง ถ้อยคำที่หลักแหลมชวนให้คิด
คำพังเพย
..........หมายถึง คำกลางๆ ที่กล่าวไว้ให้ตีความเข้ากับเรื่อง
ภาษิต
..........หมายถึง คำกล่าว ตามศัพท์เป้นคำกลางๆใช้ได้ทั้งทางดี
ทางชั่ว แต่โดยความหมายแล้ว ประสงค์ประสงค์ให้เป็นคติ
สุภาษิต
..........หมายถึง คำพูดที่เป็นคติสอนใจ
อุปมา
..........หมายถึง สิ่งหรือข้อความที่ยกมาเปรียบ
อุปไมย
..........หมายถึง สิ่งหรือข้อความที่พึงเปรียบเทียบกับสิ่งอื่นเพื่อให้เข้าใจแจ่มแจ้ง
อุปมาอุปไมย
..........หมายถึง การเปรียบเทียบกัน
โวหาร
..........หมายถึง ชั้นเชชิง หรือสำนวนแต่งหนังสือ หรือพูดถ้อยคำที่เล่นเป็นสำบัดสำนวน
แหล่งข้อมูล : หนังสือสำนวนโวหารไทยและคำเปรียบเทียบ
ผู้แต่ง : ผศ.ดร.เรืองอุไร อินทรประเสริฐ - เอนก อัครบัณฑิต
จัดทำโดย : แมงก่ำเบ้อ (นามแฝง)
(ขออนุญาตนำผลงานเผยแพร่และขอบพระคุณท่านอาจารย์ มา ณ ที่นี้ด้วย)
--------------------------------------------------------------
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)